ตกแต่งภายในบทความทั่วไปบ้านและสวน

ต่อเติมครัว

Contents

ต่อเติมครัว จำเป็นต้องรู้กฎหมายในการต่อเติมอาคาร

 สำหรับการ ต่อเติมครัว หลายคน เมื่อซื้อ บ้าน จัดสรร หรือทาวโฮม มักประสบปัญหาพื้นที่ ใช้งานไม่เพียงพอต่อความต้องการ ยกตัวอย่างเช่น ห้องครัว หรือโรงจอดรถ มักจะต่อเติมในภายหลัง ซึ่งก่อนจะแก้ปัญหา

ต่อเติมครัว

พื้นที่จำกัดด้วยการต่อเติมนั้น พูลวิลล่า ควรคำนึกถึงกฎหมาย อาคารซักนิดก่อน คิดจะต่อเติมเพื่อ ไม่ให้เกิดข้อผิดพลาด จนต้องเกิดการรื้อถอน หรือข้อพิพาท ระหว่างผู้พักอาศัยหลังอื่นๆ

ซึ่งในบทความนี้ เราจะพื้นถึง การต่อเติมพื้นที่ครัว ด้วยยุคสมัยที่เปลี่ยนไป ทำให้การออกแบบทาวนโฮมหรือบ้านจัดสรรต่างๆ มักออกแบบให้พื้นที่ ทำครัวมีขนาดที่เล็กลง ซึ่งสอดคล้องกับการใช้ชีวิต ของคนในยุคปัจจุบัน ที่ทานข้าวหรือซื้อหา กับข้าวมาจากนอก บ้าน แล้ว แต่เมื่อครอบครัวใหญ่ขึ้น จำเป็นต้องมีพื้นที่สำหรับประกอบอาคาร

จึงก่อให้เกิดความต้องการการ ภูเก็ตวิลล่า ใช้พื้นที่เพิ่มจึงนำ มาสู่การต่อเติมพื้นที่ครัว วันนี้ เราจะมาแนะนำการต่อเติมครัว ที่ถูกต้องตามกฎหมายอาคาร ก่อนอื่นเราจำเป็นจะต้องรู้จักกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกันก่อน

สิ่งที่ควรรู้ก่อนต่อเติมห้องครัวกฎหมายอาคาร

ซึ่งนอกจากพิจารณา เรื่องขนาดพื้นที่ที่ต่อเติมแล้ว กฎหมายอาคาร ยังกำหนดระยะระหว่างอาคารหรือแนวเขตที่ดิน

1. สำหรับทาวน์เฮ้าส์ ต้องเว้นพื้นที่ว่าง ทางด้านหลังกว้างไม่น้อยกว่า ๒ เมตร ด้านหน้า ๓ เมตร และให้อาคารพาณิชย์เว้นพื้นที่ว่าง ทางด้านหลังกว้างไม่น้อยกว่า ๓ เมตรจากแนวเขตที่ดิน

2. สำหรับผนังด้านที่เปิดประตู หน้างต่าง ที่สูงไม่เกิด 9 เมตร ต้องอยู่ห่างจากเขต ที่ดินไม่น้อยกว่า 2 เมตร สำหรับ ที่สูงเกิน 9 เมตร ต้องห่าง 3 เมตร จัดสวนญี่ปุ่นในคอนโด

ต่อเติมครัว

3. และผนังที่ไม่มีช่องเปิด (ผนังทึบ) ต้องห่างจากเขตที่ดินไม่น้อยกว่า 0.50 ม. ยกเว้น แต่ได้รับความยินยอม จากเจ้าของที่ดินข้างเคียง เรามักจะเห็นว่าการต่อเติมครัวหลังบ้าน ตามโครงการบ้านจัดสรรต่างๆ หรือทาวน์โฮม มักมีการก่อสร้างต่อเติมควรที่ผิดกฎหมาย ซึ่งอาจเกิดจากรู้เท่าไม่ถึงการณ์ หรือการละเลยที่จะปฏิบัติตามกฎหมาย แต่เพื่อความปลอดภัย ของผู้เป็นเจ้าของ ผู้ใช้งานเองควรปฏิบัติตาม ข้อกำหนดของกฎหมาย

และเพื่อนบ้านข้างเคียง วิลล่าราคาถูกภูเก็ต การจะต่อเติมครัวนั้น ก่อนอื่นจำเป็นจะต้องพูดคุย ทำความเข้าใจ กับเพื่อนบ้าน เพราะการต่อเติมครัวหรือส่วนอื่นๆ ของบ้านย่อมมีผลกระทบ ต่อเพื่อนบ้านทั้งทางตรงและทางอ้อม จึงจำเป็นจะต้องมีความเข้าใจในการใช้พื้นที่ ร่วมกันเพื่อลดปัญหา ที่อาจเกิด ทั้งการยินยอมให้ต่อเติมตามข้อกกหมาย หรือผลกระทบระหว่างการก่อสร้าง เช่นการตอกเสาเข็ม ทางก่อผนัง หรือการติดตั้งฮูทดูดควัน เป็นต้น ซึ่งหากเกิดปัญหา อาจนำมาสู่การฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายได้

รูปแบบลักษณะของอาคาร

ในการต่อเติมครัวนั้น จำเป็นจะต้องใช้สถาปนิก และวิศวกรในการออกแบบ และดูแลโครงสร้าง
เพื่อให้รูปแบบของการต่อเติมนั้น มีความสอดคล้อง กลมกลืนกับตัวอาคารเดิม ทั้งยังออกแบบโครงสร้าง ให้มีความแข็งแรง ถูกต้องตามหลักกฎหมาย ความปลอดภัย มีการออกแบบที่คำนึงถึงการป้องกันอัคคีภัย เพราะสาเหตุของไฟไหม้บ้านหรือทาวน์โฮม ส่วนหนึ่งก็มาจากครัวของบ้าน นอกจากนี้ ยังต้องคำนึงถึงการทรุดตัวของโครงสร้าง อาคารเดิม รอยร้าวของผนัง และรอยรั่วซึมระหว่างรอยต่อระหว่างอาคารเดิม และส่วนที่ต่อเติม ผู้เป็นเจ้าของบ้านจำเป็นต้องคำนึงถึงในการต่อเติมครัว 

ปัญหาที่อาจตามมาจากการต่อเติมที่ผิดวิธี

  • การทรุดตัวของอาคารไม่เท่ากัน   
  • ซึ่งทำให้โครงสร้างของอาคารเดิม และส่วนต่อเติมฉีกขาดออกจากกัน
  • เรื่องปัญหาการรั่วซึม
ต่อเติมครัว

อ้างอิง

ในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒
มาตรา ๔  “ดัดแปลง” หมายความว่า เปลี่ยนแปลงต่อเติม เพิ่มลด หรือขยายซึ่งลักษณะขอบเขต แบบ รูปทรง สัดส่วน น้ำหนัก เนื้อที่ ของโครงสร้างของ อาคารหรือส่วนต่างๆ  ซึ่งได้ก่อสร้างไว้แล้วให้ผิดไปจากเดิม และมิใช่การซ่อมแซมหรือการดัดแปลง ที่กำหนดในกฎกระทรวง การออกแบบบ้านให้น่าอยู่มากขึ้น เพิ่มความอบอุ่นให้บ้าน

พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒
 มาตรา ๔  “อาคาร” หมายความว่า ตึก บ้าน เรือน โรง ร้าน แพ คลังสินค้า สำนักงานและสิ่งที่สร้างขึ้นอย่างอื่น ซึ่งบุคคลอาจเข้าอยู่หรือเข้าใช้สอยได้

พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒

มาตรา ๔  “เจ้าพนักงานท้องถิ่น” หมายความว่า
              (๑) นายกเทศมนตรี สำหรับในเขตเทศบาล
              (๒) นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด สำหรับในเขตองค์การบริหารส่วนจังหวัด
              (๓) ประธานกรรมการบริหารองค์การบริหารส่วนตำบล สำหรับในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล
              (๔) ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร สำหรับในเขตกรุงเทพมหานคร
              (๕) นายกเมืองพัทยา สำหรับในเขตเมืองพัทยา
              (๖) ผู้บริหารท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อื่นที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด สำหรับในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. ๒๕๒๒

มาตรา ๒๑  “ผู้ใดจะก่อสร้าง ดัดแปลง หรือเคลื่อนย้ายอาคารต้องได้รับอนุญาตจากเจ้าพนักงานท้องถิ่น หรือแจ้งต่อเจ้าพนักงานท้องถิ่นและดำเนินการตาม มาตรา ๓๙ ทวิ” 

กฎกระทรวง ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๒๘) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ.๒๕๒๒
           ข้อ ๑ การกระทำดังต่อไปนี้ ไม่ถือเป็นการดัดแปลงอาคาร คือ
                  (๑) การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ของอาคารโดยใช้วัสดุขนาด จำนวน และชนิดเดียวกับของเดิม เว้นแต่การเปลี่ยนโครงสร้างของอาคาร ที่เป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก คอนกรีตอัดแรงหรือเหล็กโครงสร้าง รูปพรรณ
                  (๒) การเปลี่ยนส่วนต่าง ๆ ของอาคารที่ไม่เป็นโครงสร้าง ของอาคาร โดยใช้วัสดุชนิดเดียวกับของเดิม หรือวัสดุชนิดอื่นซึ่งไม่เป็น การเพิ่มน้ำหนักให้แก่โครงสร้าง ของอาคารเดิมส่วนหนึ่งส่วนใด เกินร้อยละสิบ
                  (๓) การเปลี่ยนแปลง การต่อเติม การเพิ่ม การลด หรือการขยายซึ่งลักษณะ ขอบเขต แบบ รูปทรง สัดส่วน น้ำหนัก เนื้อที่ของส่วน ต่าง ๆ ของอาคารที่ไม่เป็นโครงสร้าง ของอาคาร ซึ่งไม่เป็นการเพิ่มน้ำหนัก ให้แก่โครงสร้างของอาคารเดิมส่วนหนึ่งส่วนใดเกินร้อยละสิบ

(๔) การลดหรือการขยาย เนื้อที่ของพื้นชั้นหนึ่งชั้นใด ให้มีเนื้อที่น้อยลงหรือมากขึ้น รวมกันไม่เกินห้าตารางเมตรโดยไม่ลดหรือเพิ่มจำนวนเสา หรือคาน
                   (๕) การลดหรือการขยายเนื้อที่ของหลังคา ให้มีเนื้อที่มากขึ้นรวมกันไม่เกินห้าตารางเมตร โดยไม่ลดหรือเพิ่มจำนวนเสาหรือคาน 

การต่อเติมห้องครัวบ้านนั้น วิลล่าภูเก็ตที่ขาย ไม่ใช่เรื่องยุ่งยากจนเกินไป หากคุณได้มีการศึกษา วางแผนสำรวจไลฟ์สไตล์ของสมาชิกภายในครอบครัวคุณ ก็จะได้ห้องครัวในฝัน ที่ตอบโจทย์ทุกการใช้งาน ได้อย่างแท้จริง  


อ่านบทความเพิ่มเติ่ม ขายวิลล่าภูเก็ต ขายบ้านภูเก็ต invest in phuket property phuket villa for sale phuket village village phuket รีวิวบ้าน ขายวิลล่าภูเก็ต ขายบ้านภูเก็ต ซื้อบ้าน ตกแต่งบ้าน วิลล่าราคาถูกภูเก็ต วิลล่าภูเก็ตที่ขาย